กำหนดสายท่อเก็บตัวอย่างให้สั้นที่สุดเท่าที่จะทำได้เพื่อป้องกันการสะสมตัวของตะกอน ตะกอนสามารถดูดซึมสารตัวอย่างบางส่วนจาก
ตัวอย่าง จึงทำให้อ่านได้ค่าต่ำ เมื่อตะกอนปลดปล่อยสารตัวอย่าง จะทำให้อ่านได้ค่าสูง ลักษณะเช่นนี้ยังทำให้เกิดความล่าช้าในการแสดงผล
เมื่อความเข้มข้นของสารตัวอย่างในตัวอย่างเพิ่มขึ้นหรือลดลงอีกด้วย
รูปที่ 7 วิธีการเก็บตัวอย่าง
1 อากาศ 2 กระแสน้ำที่เก็บตัวอย่าง
กำหนดอัตราการไหลบายพาส
ห ม า ย เ ห ตุ
ห้ามคลายสกรูออกเกิน 4 รอบเมื่อใช้ท่อหลายสาย
สามารถปรับการไหลบายพาสได้ เมื่อเครื่องวัดอยู่ในโหมดปิดการทำงาน ปรับอัตราประแสน้ำของท่อบายพาสตัวอย่างน้ำโดยใช้วาล์วปรับดังที่
แสดงใน รูปที่ 8 หรือ รูปที่ 9 โปรดดู รายละเอียดทางเทคนิค ในหน้า 168 สำหรับช่วงอัตราการไหลของตัวอย่างน้ำ ใช้เครื่องมือวัด
ภายนอกในการวัดอัตราการไหลของน้ำในท่อบายพาสตัวอย่างน้ำ เพิ่มอัตราการไหลของน้ำในท่อบายพาสตัวอย่างน้ำ เมื่อกระแสน้ำที่ใช้ใน
การผลิตมีระยะห่างจากเครื่องวัดมาก เพื่อการแสดงผลการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำในการผลิตที่รวดเร็วยิ่งขึ้น
รูปที่
8 การปรับอัตราการไหลบายพาส - สายเดียว
158 ไทย